บูรณาการ
ภาษาไทย
สังคมศึกษา
สุขศึกษา
เทคโนโลยี
วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559
Indirect Speech
การนำคำพูดมารายงานให้ผู้อื่นฟัง หรือ การดัดแปลงคำพูดมาให้เป็นคำพูดของผู้เล่านั่นเอง เช่น
He said he would clean the ho
อ่านเพิ่มเติม
Direct Speech
การยกคำพูดจริงๆของผู้พูดทั้งหมดมาเล่าให้ฟังโดยไม่เปลี่ยนแปลง โดยอาศัยการนำคำพูดนั้นมาไว้อยู่ในเครื่องหมายคำพูด (Quotation Marks (“…”)) โดยมี comma (,) คั่นกลางระหว่างประโยคที่ยกมาพูดถึง และ ประโยคหลัก โดยประธานที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูดจะต้องเป็นตั
อ่านเพิ่มเติม
Past Perfect Tense
หลักการใช้ Past Perfect Tense เป็นอีกหนึ่งตัวที่สร้างความปวดหัวให้กับผู้เรียน เพราะว่าเป็นอีกหนึ่ง Tense ที่มีสองเหตุการณ์มาพ่วงกัน และสองเหตุการณ์ก็ใช้ Tense ต่างกันอีกด้วย แต่ก็ไม่ยากเกินไปครับ ถ้าสร้างความเข้าใจกั
อ่านเพิ่มเติม
Conditional sentences
Conditional sentences
หรือที่หลายคนรู้จักในนาม if-clause คือ ประโยคเงื่อนไข ประกอบด้วยประโยคย่อย สองประโยค ประโยคหนึ่งขึ้นต้นด้วยคำว่า If กับอีกประโยคหนึ่งมีหน้าตาเหมือนประโยคสมบูรณ์ทั่วไป สังเกตว่า ประโยคสองประโยคนี้สลับที่กันได้ จะยกประโยคไหนขึ้นต้นก็ได้ แล้วแต่การเน้
อ่านเพิ่มเติม
TWO WORDS VERB
การใช้คำกริยาที่ปกติแล้วมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่ส่วนประกอบ เมื่อ verb+ preposition or particle มารวมกันเป็น Phrasal verbs แล้ว อาจจะทำให้เกิดความหมายใหม่ขึ้นมาซึ่งอาจจะไม่มีเค้าความหมายของคำกริยาเดิมเลย นิยมใช้กันมากในภ
อ่านเพิ่มเติม
The Passive Voice
โครงสร้างก็คล้ายกับ Active Voice ( Tense ทั้ง 12 ที่ได้เรียนไปแล้ว ) เพียงแค่มี Verb to be มาคั่น และกริยาหลักคือ ช่อง 3 หมดเลย และมีอยู่ทั้งหมด 12 รูปแบบประโยคเช่นกัน
ถ้าจะพูดให้ฟังใหม่ก็คือว่า Tenseย่อย มี 12 ตัว แต่ละตัวสามารถแบ่งออกเป็
อ่านเพิ่มเติม
Future Continuous Tense
หลักการใช้ Future Continuous Tense (Tense อนาคตกำลังทำ)
Future ฟิวเชอะ= อนาคต
Continuous คอนทินิวอัส= ต่อเนื่อง
ที่บอกว่า
“อนาคตกำลังทำ”
หมายถึง ในช่วงเวลาหนึ่
อ่านเพิ่มเติม
Present Perfect Tense
ใช้กับเหตุการณ์เกิดขึ้นในอดีต ดำเนินมาจนถึงขณะนี้ และจะต่อเนื่องไปในอนาคต
และจะมีสองคำนี้ประกอบอยู่ด้วย คือ
for
ฟอ เป็นเวลา (กี่นาที กี่ชั่วโมง กี่วัน กีสัปด
อ่านเพิ่มเติม
Present Simple Tense
T
ense นี้ค่อนข้างจะยุ่งยากนิดหน่อยตรงที่ประธานเอกพจน์ต้องเติม s
ส่วนประธานพหูพจน์ไม่ต้องเติม สิ่งที่จะสร้างความยุ่งยากนิดหนึ่งคือการเติม s เพราะกริยาบางตัวต้องเติม es ไม่ใช่แค่ s เฉยๆ แต่ไม่ใช่เรื่องยากถ้าได้ศึกษาการเติม s ที่้ท้ายคำน
อ่านเพิ่มเติม
บทความที่ใหม่กว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)